วันอังคารที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

การหาค่า Reactive power


1.ในเวลาจ่ายไฟจะพบว่ามีกระแส 2 ส่วน คือ
- สวนที่เรียกว่า active current ทำให้เกิด active power ที่จะใช้จ่ายกำลัง power ให้ load
- สวนที่เรียกว่า reactive current ทำให้เกิด reactive power ส่วนนี้ ไม่ให้ power ที่เป็นประโยชนกับ load
  ที่ตออยู่ อาจเป็นได้ทั้งกระแสชนิด inductive และ capacitive

ส่วนหลังนี้ทำให้ generator มี load เพิ่มขึ้น ทั้งยังทำให้หม้อแปลงต้องถูกจำกัดรายจ่าย active power ไปที่ load เกิด loss เพิ่มขึ้นในสาย conductor หากลดกระแสส่วนนี้ได้ก็จะทำให้สามารถ ผลิต/ส่active power ได้มากขึ้นการต่อ reactive compensator ขนานกับ load หรือ สายส่งเป็นวิธีลดกระแสส่วนนี้ให้ต่ำลง
2. compensator
เนื่องจากส่วนที่เป็น reactive power ทำให้กระแสรวมเพิ่มสูงขึ้น เกิด voltage drop และlosses เพิ่มขึ้นในลวดตัวนำที่กระแสทั้งหมดไหลผ่านอุปกรณ์ที่ใช้ลด reactive power ไดแก่
2.1 ชนิด uncontrolled reactive compensation
เป็นชนิดต่อ fix ไม่มีการปลด-สับ เช่น shunt reactor / shunt capacitor bank ที่ใช้จำนวนหนึ่ง unit หรือ หนึ่ง bank ต่อขนานเข้ากับระบบจำหน่ายโดยผ่านfuse ไมสามารถปรับค่าได้
2.2 ชนิด controlled reactive compensation
สามารถปรับค่าได้เพื่อควบคุม parameter บางตัวของระบบที่ต้องการ ได้แก่
 2.2.1 synchronous condenser เป็น rotating machine
- under excited synchronous machine เมื่อต้องการใช้เป็น inductive loads
- over excited synchronous machine เมื่อต้องการใช้เป็น capacitive loads

 2.2.2 static var compensator มีการออกแบบไดหลายรูปแบบ เช่น
- shunt capacitor bank/shunt reactor bank ที่ใช้ circuit breaker เป็นตัวสับเขา-ปลดออก
  โดยออกแบบ  แบ่งเป็น step/bank สามารถใช้งานตามจำนวน reactive power ที่ตองการลด
  เรียกว่า   mechanically switched reactor/capacitor
- continuous controlled โดยใช้ thyristor เป็นตัวตัดต่อที่สามารถควบคุมให้ได้ปริมาณ
   reactive var ที่ต้องการ ได้แก thyristor controlled reactor :TCR
- discontinuous controlled ใช thyristor เป็นตัวตัดต่อที่แทน circuit breaker สามารถ ควบคุม
  ให้ทั้ง bank เขา-ออกได้ ไดแก่ thyristor switched capacitor :TSC และthyristor switched reactor : TSR
  อุปกรณ์เหล่านี้สามารถใช้ร่วมกันได การใช้ร่วมกันเรียกว่า static var compensation : SVC
  ทำหน้าที่เป็น reactive plant
3. mechanically switched capacitor
               ในระบบ distribution จะใช้ capacitor unit หรือ capacitor bank ขนาดเล็กๆ ติดตั้งที่เสาตอเข้line าน fuse ในกรณีที่ bank มีขนาดใหญ่ขึ้น อาจใช switcher แทน fuse ในสถานีจำเป็นต้องใช้ bank ขนาดใหญ่มี แรงดัน และ mvar สูง จะใช circuit breaker เป็นตัวปลด-สับพรอมมีระบบป้องกัน ปกติจะมี reactor ขนาดเล็กๆ ตseries กับ capacitor เพื่อทำหนาที่ลด inrush
*current หรือ transient ที่เกิดขึ้นขณะ energize ามีขนาดใหญ่จะทำหน้าที่ลดกระแส harmonic
อควรระวัง  การเกิด pre-strike หรือ re-strike ในขณะที่ breaker ทำงาน close และ open
ซึ่งจะทำให้เกิด transient over voltage
output ระหว่าง U-I จะ linear แต่ขณะที่แรงดันเปลี่ยนไป คreactive power จะเปลี่ยนไปตาม factor ของ (ratio ของ U) 2

การ energize การใชงานประจำวันหากต้องปลด-สับหลายๆ ครั้ง ควร energize ขณะที่ capacitor ไม่มี
trap charge หรือ เหลืออยู่ในระดับ 50-70 volt ซึ่งตองมีอุปกรณสำหรับ discharge เช่น discharge resistor
-harmonic capacitor unit จะมี load เพิ่มขึ้นจากกระแส harmonics ลำดับต่างๆ ที่ไหลผ่าน
  และเกิด voltage stresses ที่ capacitor element
- losses ปกติจะน้อยมาก เกิดจาก dielectric loss, film loss, connecting/internal fuse loss
  และ discharge resistor loss
-over voltage / over current ค่อนข้างจะมีผลและอิทธิพล (sensitive) shunt capacitor จึงตองมี
  ระบบป้องกัน ซึ่งใชหลักการของ unbalance เช่น unbalance voltage relay, unbalance current relay
วัตถุประสงคในการใช้ capacitor bank
- เป็น voltage support ในระบบที่ weak
- ปรับปรุง power factor
3.1. การออกแบบ capacitor bank
การออกแบบจำเป็นต้องคำนึงถึง
- ความปลอดภัยในการใช้งานและไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
- capacitor unit หรือกระป๋องต้องกำหนดขนาด แรงดันที่เหมาะสม
- ลักษณะการต่อแต่ละ unit เพื่อทำเป็น bank
- สภาพการใช้งาน

3.2 capacitor unit
capacitor unit แบ่งตามลักษณะโครงสร้างได้เป็น 3 ชนิด
 1. internally fused
 2. fuseless
 3. externally fused

                capacitor unit ต้องมี discharge resistor ต่ออยู่ภายในเพื่อลดแรงดันของ trap chargeหลังจาก
ปลดออกจากระบบเพื่อให้เหลือแรงดันไมเกิน 50-70 volt ภายในเวลา 5 -10 นาทีสามารถคำนวณ
หาคdischarge resistor : R ได้จาก สมการ
R.ln(V2/UR) = t/ C. megaohm
โดยที่
V = rated voltage : kV
UR = residual voltage : kV
C = capacitance : µ F
t = discharge time : min.

-แต่ละกระป๋องต้องทนแรงดันที่เกิดขึ้นจาก internal fault (brusting pressure) ได้โดยที่ตัวถังต้องไม่แตกออก
-dielectric fluid ที่ใช้ต้องไม่มีสาร PCB เจือปนและไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม

-การกำหนด output kVAR ต่อกระป๋อง ควรทำให้เป็นมาตรฐานเพื่อให้สามารถกำหนดขนาดของกระป๋อง  (dimension) ที่จะนำไปติดตั้ง และเป็นการกำจัด spare ไม่ให้มีหลายขนาด
3.3 การต่อ bank   สามารถต่อใช้งานได้หลายลักษณะ เช่น
a) Delta (b) Ground Y
(c) Ungrounded Y (d) Ungrounded Double Y-Neutrals
(e) Ground Double Y


ในระบบแรงสูง capacitor bank ที่ติดตั้งในสถานีมีการต่อใช้งานเป็น 3 ลักษณะดังนี้
- แรงดัน 22/33 kV :ungrounded bank ที่ต่อแบบ wye จะใช้ voltage transformer  ตอ ระหว่าง
  จุด neutral กับ ground เพื่อใช้กับระบบป้องกันที่ตรวจวัด unbalance  voltage ของ neutral point
  หรือ จะต่อเป็นแบบ wye-wye ใช้ current transformer (CT) ต่อระหว่าง จุด neutral ของแต่ละ wye
  เชื่อมผ่าน CT เข้าหากัน เพื่อใช้กับระบบป้องกันที่ตรวจวัด unbalance current ใน neutral wire
- แรงดัน 69/115 kV: ungrounded bank ที่ต่อแบบ wye-wye (หรือ double wye)
  neutral tied, จะใช current transformer (CT) อระหวาง จุด neutral ของแต่ละ
  wye เชื่อมผ่าน CT เขาหากัน เพื่อใชกับระบบปองกันที่ตรวจวัด unbalance current
  ในneutral wire
- แรงดัน 230 kV: grounded bank ที่ต่อเป็นแบบ wye-wye (หรือ double wye) neutral
  tied/grounded, หรือ H connection หรือ hybrid connection, ในระบบแรงสูงจำเป็นต้องนำ
  capacitor หลาย unit ต่อ series กัน จึงอาจเปลี่ยนตำแหน่งของ unbalance CT ไปอยู่จุดเชื่อมต่อ
  ของ  capacitors ตำแหนงที่เปนลำดับของ group เดียวกันของแตละ wye เขาหากัน และอาจต่อ
  neutral ของ bank ลง ground
3.4 การลดหรือจำกัด(limit)   
ค่inrush current ในขณะ energizeขณะที่ energize capacitor bank ที่ถูก discharge แล้หรือไม่มี trap charge เหลืออยู่แล้ว จะเหมือนเกิดลัดวงจร (short circuit) bank จะสราง inrush current สูงมากโดยเฉพาะ energize ในขณะแรงดันระบบเป็น peak การ energize เพียงหนึ่ง bank เรียกว่า isolated bank inrush current จะรุนแรงมากที่สุดขณะ energize ชนิด back to back คือ การ energize ขณะแรงดันระบบเป็นpeak ขนานกับ           bank / banks ที่ใชงานอยู่ energized bank/banks จะ discharge พลังงานของประจุเข้าสู่ energizing bank กระแสสูงสุดจะเกิดขณะนำ bank สุดท้ายเข้าใช้ เพราะexisting bank จะมี reactance ลดลงเหลือเท่ากับ          ( L/n-1) และ capacitance เพิ่มเป็น (n-1)C
การลดค่า inrush current จะใช้ current limiting reactor series กับ bank เพื่อลด
oscillating frequency และเพิ่ม impedance ในช่วงแรกของ inrush
3.4.1 การคำนวณขนาด inrush current
กรณี back to back switching (เมื่อมี bank อื่นสับเข้าอยู่ก่อน)

โดยที่
Ipk = inrush current peak
Q = MVAr of capacitor bank
Qi = Q1+Q2+….Qn-1
Qn = Q ของ bank ที่จะ switching เข้
Leq = inductance series รวมทุก bank
L1, L2, ….Ln-1 = L ที่ Switching เข้าอยู่ก่อน
Ln = L ที่จะ Switching เข้า

การต่อใน ungrounded bank จะติด current limiting reactor ไว้ที่ด้าน line แต grounded bank
อาจต่อที่ด้าน neutral คือใส่ไว้ในแต่ละ phase ก่อนต่อรวมกันเป็น neutral point แรงดันที่เพิ่มขึ้น
เนื่องจากการนำ capacitor bank เข้าใช้งานหาไดจากสมการ
u/U Q/S
u = แรงดันที่เพิ่มขึ้น
U = แรงดันก่อน energize
Q = MVAR ของ capacitor bank
S = short circuit MVA ตรงจุดที่ energize
ในทางปฏิบัติ การนำ bank เข้าใช้งานแต่ละครั้งแรงดันไมควรเปลี่ยนสูงเกิน 3 %
3.4.2 คา/ขนาดของ reactance มีผลต่อ resonnant frequency
system impedance และ capacitance ของ c-bank ที่นำเข้าใช้งานในลักษณะขนานกับระบบอาจทำให้เกิด resonant frequency ที่ใกลกับ harmonic ที่เกิดขึ้นจาก load
wr = 1/( Ls.C) ; h . ws = wr ; wr = 2πfr
wr = natural frequency (resonant frequency)
ws = system frequency : Hz
h = harmonic order
C = per phase bank capacitance : farad
Ls = system inductance : henry
h = wr/ ws = (short circuit level ที่จุดต่อเข้า/ capacitor bank MVAR)

ในทางปฏิบัติ Ls จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับสภาพของ network คือ จำนวน line,
และหม้อแปลงที่ต่ออยู่ในระบบ รวมถึงการเดินเครื่อง generator และรวมถึง load ที่ต่อเข้า จึงทำ
ให resonant frequency ไมคงที่ เปลี่ยนแปลงได
-ทั่วไป capacitor bank ขนาดใหญ่จะมี reactor ต่อ series อยู อาจมีไว้เพื่อลดกระแส inrush
 หรือ มีวัตถุประสงคใช้เป็น harmonic filter หรือ de-tuned bank
-การทำ harmonic filter จะปรับ tune : resonant frequency ของ bank ใหเทากับ frequency
 ที่ตองการกรอง (ในทางปฏิบัติจะใหเกิด resonant frequency ต่ำกว่าตองการเล็กน้อย)
-การทำ de-tuned bank จะปรับให้มี resonant frequency ต่ำกว่า harmonic ต่ำสุดที่เกิดขึ้น
 ในระบบ เพื่อให harmonic างๆ เห็น impedance ของ bank เป็น inductance เช่น
 harmonic ลำดับที่ต่ำที่สุดในระบบคือลำดับที่ 5 จะทำ de-tuned bank องเลือก reactor
 ขนาด 6% ทำให้bank มี resonant frequency ต่ำกว่า 5
XL – XC = 0
h . XL - XC/ h = 0
h = XC/ XL = 100/6 = 4.08 < 5
การต่อ series reactor ขนาดที่สูงขึ้นเพื่อทำเป็น tuned หรือ de-tuned bank จะทำให้แรงดันคร่อม
capacitor สูงขึ้น (จึงต้องระวัง unit voltage rating) และระบบจะได MVAR จาก bank มากขึ้น
4. mechanically switched reactor
ประกอบด้วย shunt reactor ที่ใช circuit breaker เป็นอุปกรณ์ตัด-ตอเข้ากับ transmission
line, bus bar, หรือ transformer-tertiary terminal
reactor มีลักษณะเหมือนหม้อแปลงเพียงแต core จะมี air-gap
output ในช่วงแรงดันใช้งานจะมีความสัมพันธ์ของ U-I เป็น linear แตในขณะที่แรงดันสูง
เกินมากๆ จะเกิด saturation ของ iron core: ทำให้ impedance ลดลง
reactor ไม sensitive กับ over voltage สามารถทนสภาพแรงดับเกินในช่วงเวลาหนึ่ง
วัตถุประสงค์ในการใช้งาน
- เป็นอุปกรณควบคุมแรงดันที่ปลายสายสงยาวๆ หรือ cable
- เป็น compensation ให capacitance ของสายส่งยาวๆ หรือ cable
- ใช้เพื่อ control แรงดัน และ reactive power ของ underground cable
5. SVC static var compensator
มีวัตถุประสงคในการใชงาน
- ควบคุมแรงดันตรงจุดติดตั้งอยางตอเนื่อง
- เพิ่มการไหลของ active power ใน transmission line
- ลด temporary over voltage
- เพิ่ม transient stability
- damping power system oscillation
- ใช้ลดแรงดันกระพริบ flickering voltage
เนื่องจาก SVC สามารถแก้ปัญหาของระบบสงกำลังไฟฟ้าได้หลายอยาง ผู้ใช้จำเป็นต้อง
ระบุสิ่งที่ต้องการหรือปญหาที่ประสงคจะใช SVC วยเพื่อผูออกแบบจะไดออกแบบที่เหมาะสม
range ของ reactive power ที่ต้องการ
output ของ SVC สามารถกำหนดได้ดังนี้

- กำหนดค่า reactive power output ที่ rated line-line voltage เป็น
inductive MVAR
capacitive MAR
- ในช่วงของ inductive range จะเกิด maximum total reactive power output
(inductive) ที่ maximum system voltage
- ในช่วงของ capacitive range จะเกิด minimum total reactive power output
(capacitive) ที่ minimum system voltage

specification of SVC
SVC ทุกชนิดสามารถให้ reactive power ตามที่ต้องการได้ที่ nominal rating อยางไรก็
ตาม SVC แตละชนิดจะทำงานตามลักษณะเฉพาะที่ออกแบบไว้ ผู้ใช้งานจำเป็นต้องให้ข้อมูล
- nominal rating
- ความสามารถในการ over load (capability)
- การควบคุมและตอบสนองขณะระบบผิดไปจากกำหนด (control and dynamic performance)
- ระดับของ harmonics ทั้งกอน (background) และขณะใช SVC
อมูลบางอยางที่ต้องคำนึงถึง
- การกำหนดค่า inductive power สูงมาก ( low reactance) ในช่วง inductive range  จะมีผล
  ทำให้ transient overload capability สูงขึ้น มี harmonic มีปริมาณสูงขึ้นราคา reactor ถูกลง
- ถ้ากำหนด capacitive range ไม่กว้างนักจะทำให ราคา capacitor และหม้อแปลงลดลง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น